ณัชชากญญ์ วิรัตนชัยวรรณ (http://www.learners.in.th/blogs/posts/386486) ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฏีนี้ไว้ว่า เป็นทฤษฏีที่สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง ทฤษฏีนี้มีแนวคิดว่า การทำงานของสมองมนุษย์มีความคล้ายคลึงกับการทำงานของคอมพิวเตอร์
บริหารการศึกษา กลุ่มดอนทอง 52 (http://dontong52.blogspot.com/) ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฏีนี้ไว้ว่า ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล เป็นทฤษฎีที่สนใจเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง ทฤษฎีนี้เริ่มตั้งแต่ ปี ค.ศ. 1950 จนถึงปัจจุบัน คลอสเมียร์ ได้อธิบายการเรียนรู้ของมนุษย์ โดยเปรียบเทียบการทำงานของคอมพิวเตอร์ กับการทำงานของสมอง การรู้คิด หรือ เมอทคอคนิชัน (matacognition) ประกอบด้วยความรู้เกี่ยวกับบุคคล งาน และกลวิธี
สรุป ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory) ทฤษฏีนี้สนใจศึกษาเกี่ยวกับกระบวนการพัฒนาสติปัญญาของมนุษย์ โดยให้ความสนใจเกี่ยวกับการทำงานของสมอง โดยมีแนวคิดว่า การทำงานของสมองมนุษย์มีความคล้ายคลึงกับการทำงานของคอมพิวเตอร์
ที่มา
1. ศูนย์เครือข่ายพัฒนาการเรียนการสอบภาษาอังกฤษ สพป.อุตรดิตถ์ เขต 2. ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory). (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.neric-club.com/data.php?page=5&menu_id=97. วันที่สืบค้นข้อมูล : 9 กรกฏาคม 2555.
2. ณัชชากัญญ์ วิรัตนชัยวรรณ.ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory). (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.learners.in.th/blogs/posts/386486. วันที่สืบค้นข้อมูล : 6 กรกฏาคม 2555.
3. บริหารการศึกษา กลุ่มดอนทอง 52. .ทฤษฎีกระบวนการทางสมองในการประมวลข้อมูล (Information Processing Theory). (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://dontong52.blogspot.com/. วันที่สืบค้นข้อมูล : 9 กรกฏาคม 2555.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น